บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2016

ยาเสื่อมสภาพ .. รู้ได้อย่างไร

เมื่อผู้ป่วยได้รับยาจากโรงพยาบาลหรือร้านขายยาก็มักจะเข้าใจว่ายาดังกล่าวสามารถใช้ได้ตราบเท่าที่ยังไม่หมดอายุ แต่ในความเป็นจริงยาอาจมีคุณลักษณะ (เช่น รูปร่าง สี กลิ่น รสชาติ) คุณภาพ (เช่น ปริมาณตัวยาสำคัญ สารเจือปน) หรือประสิทธิผลการรักษา ที่แตกต่างไปจากตอนที่ผลิตออกมาใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสง) หรือการเก็บรักษาที่ไม่ถูกต้อง ปัจจัยเหล่านี้มีผลทำให้ยาเสื่อมสภาพก่อนหมดอายุ ซึ่งไม่ควรนำมาบริโภคเพราะจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

ไวรัสร้ายของลูกน้อย…โรคอาร์เอสวี (RSV)

หลายโรคที่มากับหน้าฝนและต้องเฝ้าระวังในช่วงนี้ มีหนึ่งในกลุ่มอาการที่มักพบบ่อย คือ โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น หลายโรคพบทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ แต่ในบางโรคนั้นการติดเชื้อในเด็กมักพบได้บ่อยและทำให้มีอาการรุนแรงกว่าในผู้ใหญ่ ซึ่งหนึ่งในโรคเหล่านั้นคือ การติดเชื้อไวรัสอาร์เอสวี (RSV, Respiratory Syncytial Virus) ซึ่งพบการติดเชื้อได้ตลอดทั้งปี ซึ่งโรคนี้จัดเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็กเล็กที่พบได้มากที่สุดโรคหนึ่ง โดยคาดการณ์ว่าในเด็กอายุสองขวบทุกคนจะต้องเคยติดเชื้อชนิดนี้อย่างน้อย 1 ครั้ง ในประเทศไทยช่วงที่พบบ่อยที่สุดคือช่วงฤดูฝน ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน

ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ ยาแก้อักเสบ

รูปภาพ

ปัสสาวะเปลี่ยนสีหลังกินยา

ลักษณะของปัสสาวะ ถือเป็นหนึ่งในตัวบ่งชี้ถึงสุขภาพของมนุษย์ ดังจะเห็นได้จากโปรแกรมตรวจสุขภาพตามโรงพยาบาลต่างๆ ซึ่งมักจะมีการตรวจปัสสาวะแทบทุกครั้ง โดยปกติแล้วปัสสาวะจะมีสีเหลืองอ่อนถึงปานกลาง แต่หากสีของปัสสาวะเปลี่ยนไปจากเดิมอาจสร้างความกังวลใจให้กับทุกคนไม่น้อย ซึ่งการเปลี่ยนสีของปัสสาวะนั้นสามารถเกิดได้ทั้งจากโรคหรือภาวะบางอย่าง เช่น เม็ดเลือดแดงแตก หรือมีการติดเชื้อ อักเสบ และเลือดออกในทางเดินปัสสาวะ แล้วส่งผลให้ปัสสาวะมีสีแดงถึงน้ำตาล เป็นต้น หรืออาหารบางชนิด เช่น การรับประทานแครอทปริมาณมาก อาจทำให้ปัสสาวะมีสีส้มแดงจากสารเบต้าแคโรทีน นอกจากนี้ ยาบางชนิดก็อาจทำให้สีของปัสสาวะเปลี่ยนไปจากเดิมเช่นกัน ซึ่งเภสัชกรมักจะแจ้งผู้ป่วยขณะอธิบายวิธีการใช้ยา รวมทั้งอาจระบุไว้ในฉลากบนซองยา เพื่อให้ผู้ป่วยทราบถึงผลดังกล่าวของยา การเปลี่ยนสีของปัสสาวะจากยานั้น มักไม่ก่อให้เกิดอันตราย และส่วนใหญ่เกิดจากสีของยาหรือสารที่เกิดขึ้นจากการที่ร่างกายเปลี่ยนแปลงยา โดยอาจพบได้หลายสี เช่น สีส้ม-ชมพู-แดง หรือ สีน้ำตาล-ดำ หรือ สีเขียว-น้ำเงิน หรือ สีขาวขุ่น ดังแสดงในตาราง ทั้งนี้ ขึ้นกับชนิดของยา แต่บางค

ใช้ยาอย่างไรให้ลูกปลอดภัยในช่วงให้นมบุตร

ย่อมเป็นที่รู้กันดีว่าน้ำนมอุ่นๆ จากอกของแม่เป็นสุดยอดอาหารต่อทารกในช่วง 6 เดือนแรก จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกและ องค์การยูนิเซฟ นมแม่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามาก ซึ่งประกอบไปด้วยสารอาหารต่างๆ มากมาย รวมถึง ภูมิคุ้มกัน และฮอร์โมนที่จำเป็นสำหรับทารกในการป้องกันความเจ็บป่วย ส่งเสริมพัฒนาการ และการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ แต่บางครั้งเมื่อคุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เกิดเจ็บป่วย หรือเป็นโรคประจำตัวที่ต้องใช้ยาประจำ

6 อาการควรรู้ เกี่ยวกับ ข้อเข่าเสื่อม

รูปภาพ

มาป้องกันตัวจาก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A กันดีกว่าครับ

รูปภาพ

โรคที่มาพร้อมน้ำท่วม

รูปภาพ

ยาที่ห้ามกินร่วมกับ ยา Ergotamine (ยารักษาโรคไมเกรน)

ยาที่ห้ามกินร่วมกับ ยา Ergotamine (ยารักษาโรคไมเกรน) 1.ยากินฆ่าเชื้อรา เช่น Ketoconazole Itraconazole 2.ยาฆ่าเชื้อBacteria เช่น Erythromycin Roxithromycin Azithromycin

วิธีการล้างจมูกที่ถูกต้อง

รูปภาพ
วิธีการล้างจมูกที่ถูกต้อง

สงสัยว่าเราเป็นโรคไตหรือไม่ ลองสังเกตุอาการตามนี้ครับ

รูปภาพ

ยาที่จำเป็นต่อการเดินทาง

การเดินทางไปท่องเที่ยวยังที่ต่างๆ คงจะหมดสนุกไปไม่น้อยถ้าเราเกิดไม่สบายระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวในครั้งนั้นนะครับ วันนี้เราจะมาแนะนำยาและเวชภัณฑ์ที่ควรมีติดตัวไว้ในการเดินทาง นอกเหนือจากยารักษาโรคประจำตัวแล้ว ก็มีดังต่อไปนี้ครับ

ยาและเครื่องดื่มที่ห้ามกินคู่กัน 2

รูปภาพ

ยาและเครื่องดื่มที่ห้ามกินคู่กัน

รูปภาพ

เปิดเผยอีกด้านของยาลดความอ้วน

รูปภาพ

สาระน่ารู้ดีๆเกี่ยวกับการกินยาคุมกำเนิด

รูปภาพ

ยาอมแก้ไอ ใช้แล้วจะเจ็บใจ

รูปภาพ

การใช้ยาแก้แพ้

รูปภาพ

ปวดดดดดดดดดดด

รูปภาพ

ยาแก้ปวดมีกี่ประเภท???

รูปภาพ

ไวรัสซิก้า ภัยเงียบจากยุงลาย

รูปภาพ

ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดไมเกรน

รูปภาพ

ซิกามาไทยแล้วนะครับ

รูปภาพ

ปวดฟันต้องกินยาฆ่าเชื้อหรือเปล่า

รูปภาพ

มารู้จักยาAmoxicillin (อะมอกซิซิลลิน)กันดีกว่าครับ

รูปภาพ
อะมอกซิซิลลิน (amoxicillin) เป็นยาในกลุ่มเพนิซิลลิน (penicillins) ใช้สำหรับรักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยการฆ่าเชื้อแบคทีเรียหรือป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อ

มารู้จักยา Ibuprofen กันดีกว่า

รูปภาพ
ส่วนประกอบสำคัญของยา (Active Ingredients) Ibuprofen BP : 100 mg รูปแบบน้ำ                          200 mg และ 400 mg รูปแบบเม็ด

ยาอมต่างกันอย่างไร???

รูปภาพ

บทบาทเภสัชกรกับการใช้ยาในทางที่ผิดของวัยรุ่น

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาในทางที่ผิดของวัยรุ่นกำลังทวีความรุนแรงขึ้น และ ส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ในรูปแบบของปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม และ ปัญหาเศรษฐกิจในที่สุด ร้านขายยามีบทบาทสำคัญการแก้ปัญหาใช้ยาในทางที่ผิด ดังนี้ บทบาทในการคัดกรองผู้ใช้ยาในทางที่ผิด ส่งเสริมให้เกิดกำลังใจแก่วัยรุ่นไม่ให้ข้องแวะกับยาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เป็นผู้ให้เบาะแสแก่ ผู้ปกครอง หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นในชุมชน วิธีการที่ร้านขายยามีส่วนร่วมในการป้องกันการใช้ยาทางที่ผิดของวัยรุ่น ทำได้ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมการซื้อยาของวัยรุ่น และ การสอบถามเพื่อตรวจสอบ-ป้องกัน

ยาคุมฉุกเฉิน ... เรื่องจริงที่ผู้หญิงต้องรู้

ยาคุมฉุกเฉิน ... เรื่องจริงที่ผู้หญิงต้องรู้ ยาคุมฉุกเฉิน ชื่อนี้คุณผู้อ่านหลายท่านอาจไม่รู้จัก แต่ถ้าบอกว่าเป็น ยาคุมกำเนิดประเภทหนึ่ง หลายท่านคงร้อง อ๋อ แต่ช้าก่อน ท่านทราบหรือไม่ว่า ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน มีความเหมือนหรือแตกต่างจากยาคุมกำเนิดแบบปกติอย่างไร อีกทั้งยาคุมกำเนิดฉุกเฉินมีวิธีใช้ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย เป็นเช่นไร หากท่านไม่ทราบ การใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินก็จะเหมือนกับการใช้ยาอื่นๆ คือ มีประโยชน์หากใช้ถูกต้อง และก่ออาการข้างเคียงหรืออันตรายหากใช้ไม่ถูก

วิธีป้องกันไมเกรน(แบบไม่ใช้ยา)

รูปภาพ

เกร็ดความรู้เรื่องโรคเบาหวาน

รูปภาพ

นอนไม่หลับทำไงดี

รูปภาพ

สาเหตุของอาการท้องผูกในผู้สูงอายุ

รูปภาพ

ยาล้างไต ล้างทำไม ล้างได้จริงหรือ ต้องอ่านครับ

รูปภาพ
                คนจำนวนไม่น้อย เข้าใจว่า ถ้ามีอาการปวดหลัง ปวดบั้นเอว ตัวเองจะเป็นโรคไต พอเกิดอาการเหล่านี้ขึ้นมา ก็มักจะไปหายาแปลกๆมาทานกัน ส่วนมากจะได้มาจากร้านยาที่ไม่มีเภสัชกรอยู่ประจำร้านยา บางคนถึงกับต้องกินเป็นประจำ เพราะเชื่อว่ายาล้างไตจะป้องกันโรคไตได้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว อาการปวดหลังไม่ได้เกิดจากโรคไตเสมอไปและคนที่เริ่มมีอาการโรคไต ก็ไม่จำเพาะว่าต้องปวดหลัง  สำหรับคนปกติ ที่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ได้มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือเป็นโรคไตมาแต่กำเนิด ยากนักที่จะเป็นโรคไตกันง่าย ๆ

โรคอุจจาระร่วง

รูปภาพ

รู้ทัน โรคผิวหนัวกับหน้าร้อน

รูปภาพ

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการใช้ยาเลื่อนประจำเดือน

รูปภาพ

คนท้องใช้ยาอะไรได้บ้าง

รูปภาพ
คนท้องใช้ยาอะไรได้บ้าง

หญิงตั้งครรภ์ห้ามใช้ยาอะไรบ้าง

รูปภาพ
ยาที่คนท้องห้ามใช้อย่างเด็ดขาด